ร้านแนะนำ
สรุปหลักภาษาไทย ม.1-ม.2-ม.3 [NE29]
เก็บเงินปลายทาง
ค่าจัดส่ง:
฿27
คุณลักษณะ
ส่งจาก
รายละเอียด

ประกอบด้วย…เนื้อหาต่างๆทั้งในส่วนของหลักภาษา การใช้ภาษา และวรรณคดี โดยสรุปแยกหัวข้อเรื่องไว้เป็นบทๆ เพื่อให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจและจดจำ เหมาะสำหรับใช้ทบทวนความรู้เพื่อเตรียมสอบ ผู้เขียน : อักษราวุธ อกนิษฐสวัสดิ์ จำนวนหน้า : 312 สารบัญ – บทที่ 1 เสียงและอักษรในภาษาไทย – เสียงในภาษาไทย – อักษรในภาษาไทย – บทที่ 2 พยางค์และคำ – พยางค์ – คำ – บทที่ 3 คำไทยแท้และคำยืมภาษาต่างประเทศ – คำไทยแท้ – คำยืมภาษาต่างประเทศ – บทที่ 4 ชนิดของคำแบ่งตามลักษณะการประกอบคำ – คำมูล – คำประสม – คำซ้อน – คำซ้ำ – คำสมาส – บทที่ 5 ชนิดของคำแบ่งตามหน้าที่ – คำนาม – คำกริยา – คำสรรพนาม – คำวิเศษณ์ – คำบุพบท – คำสันธาน – คำอุทาน – บทที่ 6 ประโยค – ส่วนประกอบของประโยค – ชนิดของประโยค – บทที่ 7 ความหมายของคำ – คำที่มีทั้งความหมายโดยตรงและความหมายเชิงอุปมา – คำพ้อง – บทที่ 8 การเขียนสะกดคำ – ตัวอย่างคำที่มักเขียนผิด – บทที่ 9 เครื่องหมายวรรคตอนและการใช้พจนานุกรม – เครื่องหมายวรรคตอน – การใช้พจนานุกรม – บทที่ 10 คำราชาศัพท์ – ลำดับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ – คำนามราชาศัพท์ – คำสรรพนามราชาศัพท์ – คำกริยาราชาศัพท์ – คำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิด – บทที่ 11 สำนวน สุภาษิต และคำพังเพย – ความหมายของสำนวน – ที่มาของสำนวน – สำนวนไทยและความหมาย – บทที่ 12 ธรรมชาติของภาษา – ประเภทของภาษา – องค์ประกอบในการสื่อสาร – ลักษณะทั่วไปของภาษา – บทที่ 13 ระดับภาษา – ภาษาระดับพิธีการ – ภาษาระดับทางการ – ภาษาระดับกึ่งทางการ – ภาษาระดับสนทนา – ภาษาระดับกันเอง – บทที่14 การอ่านวิเคราะห์ – ประเภทของการอ่าน – แนวทางการอ่านวิเคราะห์ – บทที่ 15 เหตุผลกับภาษา – โครงสร้างของการแสดงเหตุผล – การอนุมาน – บทที่ 16 การใช้ภาษาเพื่อการโน้มน้าวใจ – หลักในการโน้มน้าวให้ประสบความสำเร็จ – กลวิธีในการโน้มน้าวใจ – ภาษาที่ใช้ในการโน้มน้าวใจ – การใช้วิจารณญาณในการรับสารที่โน้มน้าวใจ – รูปแบบของการใช้ภาษาโน้มน้าวใจ – บทที่ 17 ข้อบกพร่องในการใช้ภาษา – บทที่ 18 การเขียนประเภทต่างๆ – ประเภทของการเขียน – รูปแบบของงานเขียน – บทที่ 19 โวหารการเขียน – ประเภทของโวหาร – บทที่ 20 การฟัง การดู และการพูด – การฟังและการดู – การพูด – บทที่ 21 วรรณกรรมและฉันทลักษณ์ – ความหมายของวรรณกรรมและวรรณคดี – การแบ่งประเภทของวรรณกรรม – ลักษณะคำประพันธ์ในวรรณกรรม – ฉันทลักษณ์ – ฉันทลักษณ์ร้อยกรองประเภทต่างๆ – การใช้ฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ร่วมกัน – บทที่ 22 ศิลปะการประพันธ์ – กลวิธีการประพันธ์ – กวีโวหาร – บทที่ 23 วรรณกรรมกับสังคม – บทบาทด้านการสอนให้คนประพฤติตามเพื่อความสงบสุขของสังคม – บทบาทด้านการจรรโลงสังคม – บทบาทด้านการสะท้อนสภาพสังคม – บรรณานุกรม

แชทเลย
เพิ่มไปยังรถเข็น
ซื้อสินค้า